เลขยกกำลัง
กรณีเลขชี้กำลัง n เป็นจำนวนเต็มบวก
an=a×a×a×a×⋯×a⏟n ตัว
กรณีเลขชี้กำลังเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มลบ เมื่อฐาน a≠0
a0=1,a−n=1an
กรณีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน
a1n=n√aamn=n√am
สมบัติเลขยกกำลัง
สูตรผลคูณ-ผลหารของเลขยกกำลังฐานเดียวกัน
am⋅an=am+naman=am−n
สูตรกำลังซ้อนกำลัง
(am)n=am×namn=a(mn)
กรณีกำลังซ้อนกันสองชั้นขึ้นไปโดยไม่มีวงเล็บ ให้คำนวณจากบนลงล่าง เหมือนกับสูตรที่สอง
สูตรกระจายกำลังเข้าไปในผลคูณ-ผลหาร
(a×b)n=an×bn(ab)n=anbn
สูตรกระจายกำลังเข้าไปในราก
n√a×b=n√a×n√bn√ab=n√an√b
การจัดรูปเลขยกกำลัง
การจัดรูปเลขยกกำลัง มีจุดประสงค์เพื่อจัดให้เลขยกกำลังของเราอยู่ในรูปอย่างง่าย
รูปอย่างง่ายของเลขยกกำลัง หมายถึงเลขยกกำลังที่
- เลขชี้กำลังทุกตัวเป็นบวก
- รวมเลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกันเอาไว้ด้วยกัน
ตัวอย่างเช่น
a3b2 เป็นรูปอย่างง่าย
a3b−2 ไม่เป็นรูปอย่างง่าย เนื่องจากมีเลขชี้กำลังติดลบ
a3b2a2 ไม่เป็นรูปอย่างง่าย เนื่องจากมี a3 และ a2 แยกกันอยู่
ตัวอย่างการจัดรูปเลขยกกำลัง
จงทำ (xy)3(y2xz)4 ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
(xy)3(y2xz)4=(x3y3)(y8x4z4)=x3+4y8−3z4=x7y5z4
x7y5z4
ตัวอย่างการจัดรูปเลขยกกำลัง
จงทำ (a2b3)(ab4)−3a2b ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
(a2b3)(ab4)−3a2b=a2b3a−3b−12a2b=a2+(−3)b3+(−12)a2b=a−1b−9a2b
จะเห็นว่า ตัวเศษมีเลขชี้กำลังติดลบ เราจึงนำลงไปรวมกับตัวส่วน
a−1b−9a2b=1a2−(−1)b1−(−9)=1a3b10
1a3b10